top of page

กินถั่วแล้วตด? สาเหตุมาจากอะไร?

When you drink pealicious, there is no blotting.That's why we are so different and must try !!




หลายๆ คนคงเป็นกังวลเรื่องการทานโปรตีนพืชแล้วท้องอืด, เรอบ่อย อยู่ใช่ไหม?

ซึ่งระบบย่อยอาหารมีอวัยวะหลายส่วน ได้แก่ ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้ ตับอ่อน ตับ ถุงน้ำดี ซึ่งการย่อยแต่ละขั้นตอนจะมีกระบวนการที่ไม่เหมือนกัน

.

โดยกระบวนการย่อยในลำไส้ของเรา จะมี Enzyme ที่ช่วยย่อยสารอาหาร

  • ทริปซิน (Trypsin) ย่อย Peptide

  • อะไมเลส (Amylase) ย่อย Carbohydrate

  • ไลเปส (Lipase) ย่อย Fat

โดยหลังการย่อยอาหารร่างกายจะปล่อยขับสิ่งที่ไม่จำเป็นออกมาต่างๆ ไม่ว่าจะน้ำหรือ Gas Ammonia ต่างๆ เพื่อให้ร่างกายกลับมาทำงานเป็นปกติ ทีนี้การที่เรารับประทานโปรตีนพืชเข้าไป โดยหลังการย่อยอาหารร่างกายจะปล่อยสิ่งที่ไม่จำเป็นออกมา ไม่ว่าจะเป็นน้ำหรือ gas ammonia เพื่อให้ร่างกายกลับมาทำงานได้ปกติ

.

และการที่เรารับประทานโปรตีนพืชจากถั่วต่างๆ ที่มี fiber และ Oligosaccharide สูงและร่างกายไม่สามารถย่อยได้สมบูรณ์ จึงมีการผลิต gas ออกมามากกว่าปกติ ส่งผลให้เราท้องอืด เรอ และในบางรายการตดไม่หยุด

.

สาเหตุหลักๆ ที่คนส่วนใหญ่เกิดอาการ Bloating หลังทานโปรตีนจากพืช จำพวกถั่วและ legumes คือ Fiber และ Oligosaccharide ซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมาก บริเวณเปลือกหุ้มเมล็ด

.

ด้วยเทคโนโลยีในการสกัดที่แตกต่าง Organic Pea Protein ของเราสามารถแยก Oligosaccharide รวมถึง lectin ออกจากโปรตีนของเราได้อย่างหมดจด ด้วย Water-enzymed technology เทคนิคสิทธิบัตรที่ไม่มีใครลอกเลียนแบบได้

.

ต่างจากโปรตีนพืชแหล่งอื่นๆ ที่มีการใช้ Hexane เป็น Solvent ในการแยกไขมันออกจากโปรตีน และล้าง Hexane ออกด้วย Ethanol ซึ่งนอกจากจะยังทำให้มี oligosaccharide เหลือรอดแล้วยังเพิ่มโอกาสปนเปื้อน Hexane ซึ่งถือว่าเป็น Endocrine disrupting chemical ซึ่งผลต่อความสมดุลย์ฮอร์โมน

.

โดย Pealicious เราคิดค้นมาให้ทุกคนมีสุขภาพที่ดี อร่อย แถมทานได้ตลอด หาเพื่อนๆ มีคำถามสามารถเข้ามาพูดคุยกันได้ที่ Line : @pealicious

.


Peng Y, Kyriakopoulou K, Ndiaye M, Bianeis M, Keppler JK, van der Goot AJ. Characteristics of Soy Protein Prepared Using an Aqueous Ethanol Washing Process. Foods. 2021 Sep 18;10(9):2222. doi: 10.3390/foods10092222. PMID: 34574332; PMCID: PMC8469348.

Comments


Recent Posts
Archive
bottom of page